เปรียบเทียบระบบการเงินและบัญชีโรงเรียนเอกชน : ก่อนและหลังการประกาศพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550
โดย ประวีณ์นุช พรพวงมะลัย
บทคัดย่อ
การศึกษาเรื่องเปรียบเทียบระบบการเงินและบัญชีโรงเรียนเอกชน : ก่อนและหลังการประกาศพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 มีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบระบบการเงินและบัญชีของโรงเรียนเอกชน:ก่อนและหลังการประกาศพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 โดยทาการ ศึกษาด้านบุคลากร ด้านบัญชี ด้านระบบเอกสาร ด้านรายงานผล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสังเกต การสัมภาษณ์แบบบันทึกการปฏิบัติการจัดทำและตรวจสอบข้อมูลโดยยึดหลักการตรวจสอบข้อมูลและนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการศึกษาค้นคว้าดังกล่าวพบว่า ก่อนประกาศพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550
1. ด้านบุคลากร พบว่ามีปัญหาผู้ปฏิบัติงานมีวุฒิการศึกษาไม่ตรงกับงานด้านระบบบัญชีขาดความรู้ความถนัดในการจัดทำบัญชีทาให้งานขาดประสิทธิภาพ และล่าช้าและจานวนบุคลากรไม่เพียงพอกับงาน
2. ด้านบัญชี พบว่าการจัดทำหลักฐานการเงินและบัญชีไม่เป็นปัจจุบันตามระยะเวลาที่กำหนดผู้ปฏิบัติงานระบบการเงินและบัญชี ยังขาดความเข้าใจในการบันทึกบัญชี การจัดเก็บหลักฐานการเงินต่าง ๆ ยังไม่ชัดเจนโปรแกรมบัญชีและอุปกรณ์จัดทำบัญชีไม่ทันสมัย
3. ด้านระบบเอกสาร ก่อนประกาศพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 พบว่าปัญหาด้านเอกสารไม่มีการกำหนดแบบฟอร์มต่าง ๆ การจัดเก็บยังไม่เป็นระบบหมวดหมู่ ค้นหายาก
4. ด้านรายงานผล ก่อนประกาศพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 พบว่าวุฒิการศึกษาของผู้ปฏิบัติงานไม่ตรงกับงานด้านระบบการเงินและบัญชี และจานวนบุคลากรไม่เพียงพอทั้งยังขาดความรู้ความชำนาญงานบัญชี การจัดทำหลักฐานการเงินและบัญชีไม่เป็นปัจจุบันขาดความถูกต้องล่าช้าไม่เป็นปัจจุบันส่งผลกระทบต่อการบริหารของโรงเรียนเอกชนในด้านอื่น ๆ ด้วย หลังการประกาศพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการปฏิบัติงานด้านระบบการเงินและบัญชีของโรงเรียน ผู้ทำหน้าที่ปฏิบัติงานเกิดความรู้ความเข้าใจ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ ตลอดจนการศึกษาดูงาน การนิเทศ กำกับ ติดตาม และนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการดำเนินงานทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชีมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง การจัดเก็บเอกสารเป็นระบบ มีระบบการจัดเรียงเอกตามประเภทที่ชัดเจน สะดวกในการค้นหาและอ้างอิงได้ และเป็นปัจจุบันมากขึ้น
The objectives of the study were to investigate the job performance on financial and accounting system of private schools before and after the adoption of Private Schools Act B.E. 2550. The four aspects of job performance comprising personnel, accounting, document system, and report on performance were studied. The data were collected through the observation and interviews methods. The results of the study were as follows:
Before the adoption of the Private Schools Act 2007
1. As regards the personnel aspect, it was found that the academic qualification of the personnel did not match the accounting job. The lack of personnel’s accounting skills, thus the inefficiency and delays occurred. Moreover, it was found that the number of personnel were too low.
2.With respect to the accounting aspect, the study showed that the financial documents were not updated, the performers on accounting and financial system did not know about the entry system, the financial record keeping was not clear, and accounting program and were not efficient.
3. The study on document system aspect demonstrated the problems of unavailability of forms, and the documents keeping was not set systematically.
4. Concerning the report on performance aspect showed that the academic qualification of the personnel did not match the financial and accounting job and the personnel were not enough, the lack of personnel’s accounting skills, thus the inefficiency and delays occurred. Moreover, financial document preparation was not updated and incorrect which affected the school administration.
After the adoption of Private Schools Act 2007
There were a lot of changes in job performance on financial and accounting system of private schools. The accounting personnel had more understanding of the job, the customers were satisfied. The study visits, the supervisory, and the use of computers for the accounting job made better changes. The financial and accounting personnel had more understanding and could perform accounting work more efficiently, the financial record keeping was more systematically and clearly and easier to use for reference and more updated.