ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต :กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
โดย พรพิมล แก้วเกิด
บทคัดย่อ
การค้นคว้าอิสระความพึงพอใจของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตกรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโดยวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ศึกษาความพึงพอของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และวิเคราะห์พฤติกรรมกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเกี่ยวกับการใช้บริการอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่มีรหัสผ่านในการเข้าใช้ คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา จานวน 414 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ (Independent t-test) 2 การทดสอบความแปรปรวน (Levene’s Test) สถิติทดสอบเวลล์ (Welch Test) และ ความแปรปรวน (One Way Anova) 2 จะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ เชฟเฟ่ (Scheffe) ดันเนตที3 (Dunnett’sT3) ผลการค้นคว้าอิสระ ข้อมูลทั่วไปด้านประชากรศาสตร์ พบว่า เป็นเพศชาย มีอายุ 18-22 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นนักศึกษา ข้อมูลของปัจจัยทางด้านพฤติกรรมของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต ความถี่ในการใช้บริการอินเทอร์เน็ต (กี่ครั้งต่อสัปดาห์โดยเฉลี่ย) 3-4 ครั้ง มีชั่วโมงในการใช้บริการอินเทอร์เน็ต (โดยเฉลี่ยต่อหนึ่งครั้งการใช้งาน) 1-2 ชั่วโมง มีช่วงเวลาที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต (มากที่สุด) ช่วง 12.01-15.00 น. บริการอินเทอร์เน็ตที่ใช้ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีใช้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Account) โดยใช้คอมพิวเตอร์สานักงาน (PC) มีวัตถุประสงค์ที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ตเพื่อค้นหาข้อมูลข่าวสาร และสถานที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต คือ สานักวิทยบริการ จากผลการวิเคราะห์สมมติฐาน พบว่า อาชีพที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการอินเทอร์เน็ตด้านการให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Account) คอมพิวเตอร์สานักงาน (PC) แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้พฤติกรรมการใช้บริการอินเทอร์เน็ตในเรื่องวัตถุประสงค์ที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต ที่ใช้รับส่งข้อมูล (e-mail) และวัตถุประสงค์ที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ตที่ใช้ ค้นหาข้อมูลข่าวสารที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการอินเทอร์เน็ตด้านบริการเครือข่ายไร้สาย (WiFi) แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จานวนชั่วโมงในการใช้บริการอินเทอร์เน็ต (โดยเฉลี่ยต่อหนึ่งครั้งการใช้งาน) วัตถุประสงค์ที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ตที่ใช้ รับส่งข้อมูล (e-mail) และวัตถุประสงค์ที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ตที่ใช้ ค้นหาข้อมูลข่าวสารที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการอินเทอร์เน็ตด้านการให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Account)คอมพิวเตอร์สานักงาน (PC) แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จานวนชั่วโมงในการใช้บริการอินเทอร์เน็ต (โดยเฉลี่ยต่อหนึ่งครั้งการใช้งาน) วัตถุประสงค์ที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต ที่ใช้ รับส่งข้อมูล (e-mail) และวัตถุประสงค์ที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต ที่ใช้ ดาวน์โหลดโปรแกรมที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการอินเทอร์เน็ตด้านบริการ (e-mail Account) แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ระดับความพึงพอใจในการใช้บริการอินเทอร์เน็ต ด้านบริการเครือข่ายไร้สาย (WiFi) ด้านการให้บริการอินเทอร์เน็ต (e-mail Account) คอมพิวเตอร์สานักงาน (PC) และด้านบริการ (e-mail Account) อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.58, 3.59 และ3.81 ตามลาดับ
The objectives of this individual study were : to investigate the internet user behavior at Rajamangala University of Technology Thanyaburi, to find out the internet user satisfaction at Rajamangala University of Technology Thanyaburi, to analyze the internet user behavior and the internet user satisfaction at Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The sample of this study was 414 people who was at RMUTT included instructors, faculty and students who had been provided with passwords. The research instrument was the questionnaire. the data were analyzed through the application of frequency, percentage, arithmetic mean, Independent t-test for, Levene’s Test, Welch Test, One Way Anova, Scheffe’s methods and Dunnett’s T3. The results of study were as follows: The analyses with demographic variables revealed that most internet service users were male, 18-22 years-old, undergraduate level and had student status. Regarding factors influencing internet behavior, it was found that frequency of internet service usage was 3-4 times per week, time spent online was 1-2 hours per time, internet service usage was between 12.01 to 3.00 p.m. The university internet service was served by PC. The reason for using internet service was information searching. The users used the internet service at the Office of Academic Resource and Information Technology (ARIT). There was a statistically significant difference between different occupations and the internet service satisfaction with personal computers at 0.05 level. There was a statistically significant difference of the purposes of internet usage between e-mail usage and information searching usage as well as WiFi service usage at 0.05 level. There was a statistically significant difference between number of hours for every single time of internet usage, e-mail usage and information searching usage at 0.05 level. There was a statistically significant difference of internet service satisfaction between number of hours for every single time of e-mail usage and programs downloading at 0.05 level.The analysis on internet service satisfaction as regards to WiFi service, e-mail account, personal computers and e-mail account service revealed the mean scores were at high level of 3.58, 3.59 and 3.81 respectively.
DOWNLOAD : ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต :กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี