Information management for energy modeling : A case study of biomass uilization in suphanburi province

โดย ปรมัตถ์ สุขสายอ้น

ปี 2556

บทคัดย่อ (Abstract)

วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุแระสงค์เพื่อนำเสนอการจัดการข้อมูลที่ใช้สำหรับแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ด้านระบบพลังงาน ซึ่งการสร้างและพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ด้านพลังงาน รายละเอียดของแบบจำลอง เช่น สมมติฐาน ข้อจำกัดของแบบจำลอง รวมถึงที่มาและรายละเอียดของพารามิเตอร์ต่าง ๆ เช่น ปริมาณชีวมวล, อัตราส่วนชีวมวลต่อผลผลิต, ค่าความร้อน มีความสำคัญต่อผู้สร้างและพัฒนาแบบจำลองที่จะนำข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ในการสร้างแบบจำลองใหม่ ถ้าไม่มีรายละเอียดของข้อมูลต่าง ๆ เหล่านั้น การจะพัฒนาแบบจำลองต่อไปนั้นอาจจะต้องใช้เวลานานในการทำความเข้าใจแบบจำลองและต้องหารายละเอียดของพารามิเตอร์ต่าง ๆ ที่ใช้ในแบบจำลองใหม่

การทดลองนี้นาเพทริเนท (Petri net) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการกับระบบฐานข้อมูล โดยใช้ฐานข้อมูลชีวมวลในจังหวัดสุพรรณบุรีเป็นกรณีศึกษา ซึ่งข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลจะประกอบไปด้วย แหล่งที่มาของพารามิเตอร์และรายละเอียดของพารามิเตอร์นั้น ๆโดยผลลัพธ์ของระบบการประมวลผลของข้อมูลสามารถแสดงผลผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและสามารถดาวน์โหลดข้อมูลในรูปแบบของ Extensible Markup Language (XML) สำหรับการประเมินประสิทธิภาพของวิธีการที่นำเสนอ แบบจำลองการใช้ชีวมวลในจังหวัดสุพรรณบุรีถูกสร้างขึ้นมาเป็นกรณีศึกษา

ผลการจำลองที่ได้จากแบบจำลองการใช้ชีวมวลในจังหวัดสุพรรณบุรีพบว่า การใช้ชีวมวลร่วมกันในกลุ่มผู้ใช้ชีวมวลอื่นๆ สามารถแก้ปัญหาความไม่เพียงพอของแกลบในการผลิตไฟฟ้าได้ และจากการประเมินประสิทธิภาพของวิธีการที่นำเสนอกับผลการจำลองที่ได้จากแบบจำลอง จากผลการจำลองสามารถย้อนกลับไปดูข้อมูลและที่มาของพารามิเตอร์ต่าง ๆ ที่ใช้ในแบบจำลอง ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูลโดยแสดงผลลัพธ์ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

This thesis objects to manage the information for a mathematical model for energy system. Creation and development of mathematical model for energy system, the information of the model; assumptions, constrain including the sources of parameters such as amount of biomass, residue to product ratio, heating value and its detail used in the model are very important for modeler or developer to use these information to create a new model. If there are insufficient information, developer of new model have to spend more time in understanding the model and search the new detail of parameters that used in the model.

This experimental appliea the Petri-net for managing the database system. Database of biomass in Suphanburi province was used as a case study area. The data in database consists of the source of parameters and its detail. The parameters and its detail can be displayed through the internet and can be downloaded in the Extensible Markup Language (XML) format file. For evaluating the effectiveness of proposed method, a mathematical model of biomass utilization in Suphanburi province was created as a case study.

The results from a mathematical model of biomass utilization in Suphanburi province found that combination use of biomass can solve the problem of not enough rice hush for electric power generation. Evaluating the effectiveness of the proposed method with the result from the model, from the result of the model can track back to the source and details of parameters that used in the model which include in the database by displayed through the internet and can be downloaded.

 

Download : การจัดการข้อมูลที่ใช้สำหรับแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ด้านพลังงาน : กรณีศึกษาแบบจำลองการใช้ชีวมวลในจังหวัดสุพรรณบุรี