Problems and Development Guidelines on Material Administration for Material Officials In Rajamangala University of Technology Thanyaburi

โดย อริสรา สุดสระ

ปี 2562


บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัญหาการบริหารงานพัสดุของผู้ปฏิบัติงานพัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานพัสดุ ตามความเห็นของผู้ปฏิบัติงานพัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่งานพัสดุภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประกอบด้วย หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หรือเจ้าหน้าที่พัสดุโรงเรียน จานวนคน ใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าแบ่งออกเป็นระดับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นอาศัยแนวคิดจากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยเป็น การสอบถามปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานพัสดุของผู้ปฏิบัติงานพัสดุ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็นตอน คือ ตอนที่แบบสอบถามแบบตรวจสอบเกี่ยวกับสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ สังกัดคณะ ระดับตำแหน่ง อายุงาน ประสบการณ์ ตอนที่แบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหา การบริหารงานพัสดุของผู้ปฏิบัติงานพัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ในด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการซื้อหรือจ้างและการบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ ด้านการบริหารพัสดุ ด้านการบำรุงรักษาการตรวจสอบ ด้านการจำหน่ายพัสดุ

ผลวิจัย พบว่า(1) ปัญหาการบริหารงานพัสดุของผู้ปฏิบัติงานพัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ปฏิบัติงานพัสดุ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน (2) ปัญหาการบริหารงานพัสดุของผู้ปฏิบัติงานพัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จำแนก ตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงานพัสดุ โดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนรายได้ไม่แตกต่างกัน แนวทางการพัฒนาการบริหารงานพัสดุผลการวิจัย พบว่า ปัญหาส่วนใหญ่ของการปฏิบัติงานเกิดจากผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุขาดการวางแผนในกระบวนการของงานพัสดุ และขาดการศึกษาระเบียบเกี่ยวกับงานพัสดุ ทาให้การปฏิบัติงานเกิดความผิดพลาด โดยผู้ให้ข้อมูลเสนอ แนวทางการพัฒนาการบริหารงานพัสดุ โดยให้หน่วยงานสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานได้เข้ารับการอบรม การจัดทำขั้นตอนการปฏิบัติงานในการจัดซื้อจัดจ้าง และแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานภายในองค์กรทราบ โดยทั่วกัน รวมถึงการศึกษาระเบียบเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และทำให้การปฏิบัติไม่เกิดความล่าช้า


Abstract

The purposes of this research are to 1) investigate the problems of material administration in Rajamangala University of Technology Thanyaburi 2) Suggest guidelines for the development of supply management I RMUTT. The sample of the study consisted of 120 people the sample included the chief supply administrative officer and supply administrative officer. The research tool was 5-level rating scale questionnaire. The questionnaire is divided into 2 parts, which are part 1) questionnaire about the status of sample, such as antifiction faculty, level of position, year is experience and experience in administrative. Part 2) questionnaire about the problem of supplies management in 4 areas 1) Purchasing of contracting process and contract management and parcel inspection 2) material management 3) maintenance and inspection 4) material distribution. The finding revealed as follows: 1) Problems and guidelines for the development of administrative worker in Rajamangala University of Technology Thanyaburi classifieds by level of Position and The without significant differences. 2) investigate the problems of material administration in RMUTT classified by experience, the result show as a whole and the significant difference wordcount at the level of .05 but each particular aspect and the without significant difference.

The results of the interviews show that most of the operational problems arise from the lack of planning for the material operator in the supply process. Proposed guidelines for supply management were encourage operators to attend training, establishing a procurement work flowchart according to the procurement limit and notify the operators within the organization. The study of regulations about supplies.


Download: Problems and Development Guidelines on Material Administration for Material Officials In Rajamangala University of Technology Thanyaburi