Learning management based on the language teaching for communication combined with grouping techniques to develop Chinese speaking skills for everyday use of secondary 4 (grade 10) students
โดย พิทยรัศมิ์ แย้มประยูร
ปี 2563
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพูดสื่อสารภาษาจีนในชีวิตประจำวันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังเรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะทางการพูดสื่อสารภาษาจีนในชีวิตประจำวันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการจัด การเรียนรู้ตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารผสมผสานเทคนิคการแบ่งกลุ่ม และ 3) เพื่อเปรียบเทียบ ทักษะทางการพูดสื่อสารภาษาจีนในชีวิตประจำวัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ ตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารผสมผสานเทคนิคการแบ่งกลุ่ม และการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพระแท่นดงรัง วิทยาคาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 จำนวน 50 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารผสมผสานเทคนิคการแบ่งกลุ่ม 3) แบบทดสอบวัดทักษะการพูดภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ทดสอ สมมติฐานโดยใช้ t-test (Dependent Samples) และ t-test (Independent Samples)
ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ 1) ทักษะการพูดสื่อสารภาษาจีนในชีวิตประจาวัน ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 4 โดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ก่อนเรียนและหลังเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 2) ทักษะการพูดสื่อสารภาษาจีนในชีวิตประจำวัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการจัด การเรียนรู้ตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารผสมผสานเทคนิคการแบ่งกลุ่ม ก่อนเรียนและหลังเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ทักษะการพูดสื่อสารภาษาจีนในชีวิตประจาวันของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ผสมผสานเทคนิคการแบ่งกลุ่ม สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Abstract
The objectives of this study were to: 1) compare Chinese speaking skills for everyday use of secondary 4 (grade 4) students before and after learning through the conventional learning management, 2) compare Chinese speaking skills for everyday use of secondary 4 students before and after learning through the language teaching for communication combined with grouping techniques as the learning management, and 3) compare Chinese speaking skills for everyday use of secondary 4 students who had received the learning management based on the language teaching for communication combined with grouping techniques and the conventional learning management.
The samples for this research included 50 secondary 4 students at Prathandongrungwittayakarn school, Secondary Educational Service Area Office 8. The students were in the second semester of 2019 and selected by the cluster random sampling method. The study was undertaken in the second semester in the 2019 academic year, using a pretest-posttest nonequivalent-groups design. The tools of this study were: 1) a conventional learning management plan, 2) a learning management plan based on the language teaching for communication combined with grouping technique as the learning management, and 3) a Chinese communication skill test. The statistics used to analyze the data were comprised of mean, standard deviation, t-test (dependent samples), and t-test (independent samples).
The research results were as follows: 1) Chinese speaking skills for everyday use of secondary 4 students before and after learning through the conventional learning management were different at a significance level of 0.05, 2) Chinese speaking skills for everyday use of secondary 4 students before and after learning through the language teaching for communication combined with grouping techniques as the learning management were different at a significance level of 0.05, and 3) Chinese speaking skills for everyday use of secondary 4 students before and after learning based on the language teaching for communication combined with grouping techniques were significantly higher than those who learned through the conventional learning management, with a statistically significance level of 0.05