Factors Affecting TPS Usage Satisfaction: Case Study of Daisin Co., Ltd.
โดย สุวัฒชัย หอมละเอียด
ปี 2552
บทคัดย่อ
การค้นคว้าอิสระครั้งนี้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการใช้ระบบ TPS และเพื่อศึกษาถึงปัจจัยและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้งานระบบ TPS ของพนักงาน โรงงานอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ กรณีศึกษาบริษัทไดซิน จ ากัด จังหวัดปทุมธานี
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการถึงระดับหัวหน้างาน จ านวน 221 คนโดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งตามโควต้าของแต่ละแผนกปฏิบัติงานโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F-test เปรียบเทียบรายคู่ใช้วิธีทดสอบแบบ (LSD) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ของเพียร์สัน ที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านส่วนบุคคล พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ต าแห่นงงานระดับพนักงาน มีการศึกษาระดับมัธยมปลาย / ปวช. ประสบการณ์ท างานที่ 10 ปี – น้อยกว่า 15 ปี แผนกผลิต/วางแผน และระยะเวลาการใช้งานระบบ TPS 2 ปี – น้อยกว่า 3 ปี มากที่สุด ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน ผลการวิเคราะห์สมมติฐานพบว่า แผนกที่แตกต่างมีระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันทั้ง 3 ด้าน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านสภาพแวดล้อมในการท างานแตกต่างกันส่งผลต่อปัจจัยความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันมากที่สุด ส่วนระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยความพึงพอใจในการใช้งานระบบ TPS ผลการวิเคราะห์สมมติฐานพบว่า แผนกที่แตกต่างมีระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยความพึงพอใจในการใช้งานระบบ TPS แตกต่างกันทั้ง 4 ด้าน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านการปฏิบัติงานรายข้อ และรองลงมาด้านการจัดการรายข้อระดับความคิดเห็นแตกต่างกันซึ่งส่งผลต่อปัจจัยความพึงพอใจในการใช้งานระบบ TPS และผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยความพึงพอใจในการปฏิบัติงานกับปัจจัยความพึงพอใจในการใช้งานระบบ TPS พบว่าด้านค่าจ้างและสวัสดิการมีความสัมพันธ์กันต ่ามากในเชิงบวก และไปในทิศทางเดียวกัน
The purposes of this independent study were to study factors related to TPS usage satisfaction and study factors and recommendations about the staff usage of TPS at automobile parts manufacturing, case study of Daisin Co., Ltd. Pathumthani province.
The sample group in this study was 221 operational staff and supervisors. The quota sampling method by department and questionnaires were used to collect data. Statistics used to analyze data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, pair-wise comparison using LSD, and Pearson correlation coefficient (r) at 0.05 statistical significance level.
An analysis of demographic data found that most of the respondents were males, worked in staff positions, high school/vocational school of educational level, 10 years to less than 15 years of working experience, production/planning department, 2 years to less than 3 years of working experience with TPS.
The hypotheses testing results found that the differences of departments had different opinions in the working satisfaction factors in 3 areas. Detailed consideration found that the differences of working environment had the most different effects on working satisfaction. The hypothesis testing results on the opinion level of the TPS usage satisfaction factors found that the differences of departments had different opinion on TPS usage satisfaction factors in 4 areas. Detailed consideration found that the difference of opinions in detailed operation and detailed management had different effects on TPS usage satisfaction factors. The analysis results on the correlation between working satisfaction factors and TPS usage satisfaction factors found that compensation and benefits had very low positive correlation in the same direction.
DOWNLOAD : Factors Affecting TPS Usage Satisfaction: Case Study of Daisin Co., Ltd.