Developing a Learning Management Model of Thai Dance for Global Citizenship

โดย มาโนช บุญทองเล็ก

ปี 2564


บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ถอดรูปแบบการสอนนาฏศิลป์ไทยของศิลปินแห่งชาติ 2) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ไทยสู่ความเป็นพลเมืองโลก 3) ประเมินการใช้รูปแบบ รูปแบบการจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ไทยสู่ความเป็นพลเมืองโลก และ 4) ประเมินทักษะความเป็นพลเมืองโลก

การวิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน เก็บรวบรวมข้อมูลจาก ศิลปินแห่งชาติด้าน ศิลปะการแสดง จำนวน 4 คน และครูอาวุโส/ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5คน ครูผู้สอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 15 คน อาจารย์สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา จำนวน 9 คน นักศึกษาวิชาชีพครูนาฏศิลป์ จำนวน 10 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 80 คน เครื่องมือวิจัย คือ 1) แบบ สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ 3) คู่มือแผนการจัดการ เรียนรู้ 4) แบบประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจ และแบบสัมภาษณ์ผู้ เข้าอบรม 6) แบบประเมินความเป็นพลเมืองโลก การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประมาณใช้สถิติได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test

ผลการวิจัย พบว่า การสอนของศิลปินแห่งชาติมีกระบวนการสอน คือ สอนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้ เห็น และการใช้เทคโนโลยีน ามาพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ไทยสู่ความเป็นพลเมืองโลก คือ KSAT learning management model For Global Citizenship มี 6 ขั้นตอน คือ ขั้นรับรู้ ขั้นเรียนรู้ ขั้นทบทวน ขั้นชำนาญ ขั้นพัฒนา และขั้นขยายผล ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้สู่ความเป็น พลเมืองโลก ด้านความเหมาะสมและความเป็นไปได้พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.93, SD = 0.16) (𝑥̅= 4.71, SD = 0.45) การประเมินความเป็นพลเมืองโลกผู้เรียน พบว่า ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 (t = 90.48) ( P =.000) ความพึงพอใจต่อรูปแบบการ จัดการเรียนรู้สู่ความเป็นพลเมืองโลก อยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥̅= 4.83, SD = 0.44)


Abstract

The objectives of this research were to: 1) transcribe Thai dance teaching model of national artists, 2) develop Thai dance learning management model for global citizenship, 3) evaluate using Thai dance management model for global citizenship, and 4) evaluate global citizenship skills.

Mixed methodology research was used to correct data from 4 national artists in performing arts, 5 senior/expert teachers, 15 basic education teachers, 9 teachers of Thai dance studies, 10 professional dance teacher students, and 80 secondary school students. The research instruments were: 1) structured interview form, 2) suitability and possibility evaluation form, 3) learning management plan manual, 4) learning management model evaluation form, 5) participant satisfaction questionnaire and interview form, and 6) global citizenship learning achievement test. Content analysis was using for qualitative data. The statistics used for quantitative data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test.

The results of the research revealed that teaching model of the national artists consisted of teach for knowledge, teach for sampler and teach for accomplished. KSAT learning management model of Thai dance developed for global citizenship has 6 steps: recognition stage, learning stage, repeat stage, skillful stage, development stage, and expansion stage. The result of the learning management model for global citizenship in suitability and probability was at the highest level (𝑥̅ = 4.93, SD = 0.16), (𝑥̅ = 4.71, SD = 0.45). Students’ global citizenship posttest was higher than pretest at a statistically significant level of .01 (t = 90.48) (P = .000), and the satisfaction towards learning management model for global citizenship was at the highest level (𝑥̅ = 4.83, SD = 0.44).


Download : การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ไทยสู่ความเป็นพลเมืองโลก