Ethics on Internet Usage among High School Students of Suankularbwittayalai Rangsit School.
โดย จักรพงศ์ เปรมจิตต์
ปี 2554
บทคัดย่อ (Abstract)
การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจริยธรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตของกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ที่กา ลังศึกษาอยู่ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยล่ะ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการวิเคราะห์ความแตกต่างใช้การทดสอบค่าที (Independent Samples t-test) กับกลุ่มตัวอย่างที่มี 2 กลุ่มการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) กับกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม ถ้าพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยใช้วิธี LSD (Least Significant Difference)
ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง (54.75) กา ลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 (24.50) และมีค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่ได้รับจากผู้ปกครอง มากกว่า 2,500 บาทขึ้นไป(33.75) พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต จำนวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตต่อวัน 2 – 3 ชั่วโมง(51.50) เว็บไซต์ที่เข้าใช้งานบ่อย Google (29.6) ความสนใจในอินเทอร์เน็ต ด้านความบันเทิง (72.75)และช่วงเวลาที่ใช้งาน 18.00 – 20.00 (75.50) การทดสอบสมมติฐานที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 พฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต จำแนกตามเพศ ด้านความเป็นเจ้าของ มีค่า Sig. เท่ากับ 0.036จำแนกตามค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่ได้รับจากผู้ปกครอง ด้านความเป็นส่วนตัว มีค่า Sig. เท่ากับ 0.017
The independent study was carried out to investigate the ethics on internet usage among the high school students of Suankularbwittayalai Rangsit School. The questionnaire was used as the data gathering instrument. The statistics used for data analysis comprised Percentage, Mean, Standard Deviation, Independent Samples t-test, One-Way ANOVA, and Least Significant Differences (LSD).
The results of the study demonstrated that most respondents were female (54.75%), were studying in Mathayom 4 (24.50%), the monthly expenses supported by their parents was more than 2,500 Baht (33.75%). According to the internet usage behavior, the study showed that the internet was used 2-3 hours per day (51.50), the frequent viewing website was Google (29.60), the students used the internet for entertainment (72.75%), and the internet was used between 18.00-20.00 hours (75.50%). The hypothesis test performed at 0.05 level of significance on the internet usage behavior classified by age on the possession aspect showed significance at 0.036, while classified by monthly expenses supported by parents on the privacy aspect, the study indicated significance at 0.017.
Download : จริยธรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตของกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต