ความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับมาตรฐาน JCI A ของพนักงานโรงพยาบาลเอกชนตัวอย่างแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร
โดย สมพร กิจบุญศรี
บทคัดย่อ
การค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อระดับความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติและการยอมรับของพนักงานต่อมาตรฐาน JCIA ของโรงพยาบาลเอกชนตัวอย่างแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานของโรงพยาบาลเอกชนตัวอย่างแห่งหนึ่ง จานวน 250 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และค่า F-test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการค้นคว้าอิสระพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 25 – 34 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุการทางาน 3 – 10 ปีโดยมีตำแหน่งงานเป็นพยาบาล / ผู้ช่วยพยาบาล / ผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย ด้านระดับความรู้ความเข้าใจของพนักงานต่อมาตรฐาน JCIA ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านระดับทัศนคติของพนักงานต่อมาตรฐาน JCIA ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านระดับการยอมรับของพนักงานต่อมาตรฐาน JCIA ในภาพรวมอยู่ในระดับมากและมีระดับการยอมรับมากในทุก ๆ ด้าน
ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า เพศ ที่แตกต่างกันมีผลทาให้ระดับทัศนคติ ระดับการยอมรับในด้านการตัดสินใจและในด้านการยืนยันของพนักงานต่อมาตรฐาน JCIA แตกต่างกัน อายุ ที่แตกต่างกันมีผลทาให้ระดับความรู้ความเข้าใจ ระดับทัศนคติ ระดับการยอมรับในด้านความรู้ ด้านการจูงใจ ด้านการตัดสินใจและในด้านการนาไปใช้ของพนักงานต่อมาตรฐาน JCIA แตกต่างกัน สถานภาพ ที่แตกต่างกันมีผลทาให้ระดับความรู้ความเข้าใจ ระดับทัศนคติ ระดับการยอมรับในด้านความรู้ ด้านการจูงใจ ด้านการตัดสินใจและในด้านการยืนยันของพนักงานต่อมาตรฐาน JCIA แตกต่างกันระดับการศึกษา ที่แตกต่างกันมีผลทาให้ระดับการยอมรับในด้านความรู้ และด้านการตัดสินใจของพนักงานต่อมาตรฐาน JCIA แตกต่างกัน อายุการทางาน ที่แตกต่างกันมีผลทาให้ระดับความรู้ความเข้าใจ ระดับทัศนคติ ระดับการยอมรับในด้านความรู้ ด้านการนาไปใช้และในด้านการยืนยันของพนักงานต่อมาตรฐาน JCIA แตกต่างกัน
The purposes of this independent study are to study personnel data that affected knowledge level, attitude level, and acceptance level of the joint commission international accreditation standards of the sample non – government hospital employee in Bangkok province. The population in this study was 250 employees who worked in the Sample Non – Government Hospital. The research tool was questionnaires and the sampling method used was the convenience sampling method. Statistics used to analyze data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test at the statistically significant level 0.05. The found that most of the employees are female age 25 – 34 years old, single, bachelor degree education, working experienced 3 – 10 years old, and working in the position of nurse/nurse assistance/patient assistances. The overall opinions to the Joint Commission International Accreditation Standards of knowledge level, of attitude level, of acceptance level was in the high level. And in each term of acceptance level of overall opinions to JCIA standards was in the high level also. The hypothesis results found that the differences on sex had difference effects on the overall opinions of attitude level, and of acceptance level in term of decision making and approval to JCIA standards. The differences on age had difference effects on the overall opinions of knowledge level, of attitude level, and of acceptance level in term of knowledge, motivation, decision making and practice to JCIA standards. The differences on status had difference effects on the overall opinions of knowledge level, of attitude level, and of acceptance level in term of knowledge, motivation, decision making and approval to JCIA standards. The differences on education had difference effects on the overall opinions of acceptance level in term of knowledge and decision making to JCIA standards. The differences on working experienced had difference effects on the overall opinions of knowledge level, of attitude level, and of acceptance level in term of knowledge, practice and approval to JCIA standards.