A Study of Local Knowledge Transferring for Sustainable Development : A Case Study of the National Artists in Visual Arts and Local People

โดย สุธีรา เผ่าโภคสถิตย์, ปราจิต ทิพย์โอสถ และสาโรจน์ อนันตอวยพร

ปี 2551

บทคัดย่อ (Abstract)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นในการถ่ายทอดภูมิปัญญาไทยเพื่อการพัฒนายั่งยืนของศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์และผู้มีความรู้ความสามารถในท้องถิ่นสาขาศิลปกรรม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์จำนวน 16 คน และผู้มีความรู้ความสามารถในท้องถิ่นสาขาศิลปกรรมจำนวน 18 คน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเลือกประกอบอาชีพเพราะความรักในอาชีพและได้รับความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสมจากสถานศึกษาหรือในชุมชนของตนเอง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ยินดีถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ที่สนใจ ส่วนวิธีที่จะทำให้เยาวชนสนใจด้านทัศนศิลป์หรือศิลปกรรมมากที่สุดคือ การจัดแสดงทดสอบสมมุติฐานการวิจัยด้วยการทดสอบไคสแควร์ ที่ระดับนัยสำคัญ ∝ = .05 โดยพบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่าง เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพการสมรสและสาขาของภูมิปัญญาระหว่างศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์และครูภูมิปัญญาไทยสาขาศิลปกรรมกับวิธีการถ่ายทอดภูมิปัญหาไทย

This study to study local knowledge transferring for sustainable development of the national of the national artists in visual arts and local people who are expert in fine arts. Samples size are 16 for national artists and 18 for local people who are expert in fine arts. The results are the artists love their community. Almost of the samples are welcome to transfer their knowledge’s. The best way to encourage young people appreciated in fine arts is arts exhibitions. The samples introduce that there are several ways for efficiency instructions. Test of hypothesis b y chi-Square tests, significant level = .05. The results find that there are no significant different between sex, age, education level, marriage status, branch of knowledge’s between the national artists in visual arts and local people who are expert in fine arts and method of knowledge’s transferring.

DOWNLOAD : การศึกษาการถ่ายทอดภูมิปัญญาไทยเพื่อการพัฒนายั่งยืน : กรณีศึกษาศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์และผู้มีความรู้ความสามารถในท้องถิ่นสาขาศิลปกรรม