Modelling of Power Generation Controller for Permanent Magnet Motor Elevator by Energy Regenerative Unit (ERU)

โดย สิทธิชัย กันทะวงศ์

ปี 2556

บทคัดย่อ

การทำงานของลิฟต์ในช่วงของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า มีพลังงานไฟฟ้าส่วนหนึ่งจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนโดยผ่านตัวต้านทาน จากปัญหาดังกล่าว จึงมีแนวความคิดที่จะนำพลังงานสูญเสียจากระบบลิฟต์กลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีการรีเจนเนอร์เรทีฟ ซึ่งประกอบไปด้วยสองส่วนหลัก คือ การแปลงไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ และการควบคุมการเชื่อมต่อกาลังไฟฟ้ากลับสู่ระบบจำหน่าย เพื่อลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าของระบบลิฟต์

วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการจำลองชุดควบคุมกำลังไฟฟ้าของมอเตอร์ลิฟต์แบบแม่เหล็กถาวร ด้วยวิธีรีเจนเนอร์เรทีฟ เพื่อนำพลังงานไฟฟ้าสูญเสียที่ได้จากระบบลิฟต์ป้อนกลับเข้าสู่ระบบของการไฟฟ้า โดยทำการจำลองระบบการแปลงไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับของชุดคืนพลังงาน (Energy Regenerative Unit:ERU) ที่ใช้เทคนิค 4 จตุภาค ด้วยโปรแกรม MATLAB/Simulink และศึกษาความสัมพันธ์ของกาลังไฟฟ้าที่รับและจ่ายคืนระบบไฟฟ้ากับพิกัดน้ำหนักที่ลิฟต์บรรทุก

จากผลการจำลองด้วยโปรแกรม MATLAB/Simulink พบว่าขณะที่มอเตอร์ทำงานเป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด 7.5 กิโลวัตต์ ERU สามารถคืนพลังงานเฉลี่ยประมาณ 4 กิโลวัตต์ และจากการทดสอบลิฟต์เปล่าขึ้นลงอัตโนมัติ เป็นเวลา 30 วันพบว่าสามารถคืนพลังงานได้ 81 กิโลวัตต์หรือประมาณ 43 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับลิฟท์ที่ไม่มีการติดตั้งระบบรีเจนเนอร์เรทีฟ

The study of knowledge management affecting education effectiveness of/Directorate of Education and Training, Royal Thai Air Force aimed to: 1) Study the quality of knowledge management of Directorate of Education and Training, Royal Thai Air Force. 2) Study the quality of education effectiveness of Directorate of Education and Training, Royal Thai Air Force. 3) Relationship between knowledge management and education effectiveness and 4) Knowledge management affecting education effectiveness of Directorate of Education and Training, Royal Thai Air Force.

Questionnaires were the tool to collect data from administrators, teachers, and staff of Schools under Directorate of Education and Training, Royal Thai Air Force by using simple sampling method and categorizing samples which were equal to 437 people. The statistical methods used in data analysis were Percentage, Mean, Standard Deviation, Pearson Correlation, and Stepwise Multiple Recession.

The study found that 1)Quality of overall knowledge management was high. 2) Quality of overall education effectiveness is high. 3) Relationship between knowledge management and education effectiveness was positive and 4) Knowledge management affecting education effective shows that knowledge management forecast the education effectiveness from the production of students with high results, the capacity in developing good attitudes of students, the capacity in problem solving within the school , and the capacity in school development were statistically significant at .01 level.

 

Download : การจำลองชุดควบคุมกำลังไฟฟ้าของมอเตอร์ลิฟต์ชนิดแม่เหล็กถาวรด้วยวิธีรีเจนเนอร์เรทีฟ